รับยื่นจดเครื่องหมายการค้า

ความสำคัญและความจ่าเป็นของการจดเครื่องหมายการค้า

     หลายๆ คนอาจจะยังไม่สนใจการจดเครื่องหมายการมากนัก เพราะอะไรนะเหรอครับ ก็เราไม่ได้เป็นเจ้าของกิจการหรือนักธุรกิจ ที่จะได้สร้างแบรนด์เป็นของตัวเอง แต่อยากให้ทุกคนไม่ตกเทรนด์ และสามารถเรียนรู้ไปกับการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า ว่ามันมีความสำคัญและจำเป็นอย่างไร ในตัวผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพราะบางทีคุณๆ ทั้งหลายอาจจะใด้เป็นนักธุรกิจ หรือเจ้าของแบรนด์ผลิตภัณฑ์สินค้าต่างๆ ก็ได้ ย่อมไม่เสียหาย ถ้าเราจะเริ่มเรียนรู้เพิ่มสักนิดเผื่อเป็นวิทยาทานแก่ตัวเรานะครับ

     ความสำคัญและความจำเป็นของกรจดทะเบียนการค้ามีอยู่มากมาย ซึ่งทำให้ผู้ใช้บริการสินค้าสามารถจดจำแยกแยะและไม่สับสนกับผลิตภัณฑ์ตัวอื่นๆ ถึงแม้จะเป็นประเภทเดียวกันก็ตาม และสามารถให้ผู้บริโภคเลือกซื้อสินค้าที่มีคุณภาพตามต้องการได้ รวมทั้งทำให้ผู้บริโภคทราบถึงเจ้าของเครื่องหมายการค้าด้วย และเจ้าของเครื่องหมายจะมีสิทธิ์ใช้เครื่องหมายการคำแต่เพียงผู้เดียวถ้ามีผู้ละเมิดสิทธิ์ก็สามารถเรียกร้องค่าเสียหายใด้ แหม! สุดยอดเลยครับ สรุปคือหน้าที่เครื่องหมายการค้าเป็นตัวบ่งชี้ จำแนก แยกแยะ บอกแหล่งที่มา บอกคุณภาพของสินค้าและการประชาสัมพันธ์ครับ

     เรามาดูประเภทเครื่องหมายการค้ากันว่ามีกี่ประเภท เครื่องหมายการค้าสามารถแบ่งเป็นได้เป็นสีประเภท ประเภทที่หนึ่งคือชื่อ หรือแบรนด์ประเภทที่สองเครื่องหมายบริการ หรือสัญลักษณ์ ประเภทที่สามต้องเน้นสโลแกนส่วน ประเภทที่สี่จะเป็นตัวบ่งชี้มาในนามบริษัทหรือวิสาหกิจในกลุ่ม

     แต่การได้มซึ่งเครื่องหมายกรค้า เราต้องนำเครื่องหมายกรที่คิดคันขึ้นมาไปจดทะเบียนเครื่องหมายการเสียก่อน ถึงจะใด้รับความคุ้มรองตามกุฎหมายโดยสมบูรณ์ แต่ละประเภทต้องมีลักษณะตามที่กฎหมายก่หนด แต่การจดทะเบี้ยนแบ่งเป็นจดในประเทศและต่างประเทศครับ

    จากที่กล่าวมาฟังดูแล้วไม่ยุ่งยากเลยครับ แถมเรายังมีความเข้าใจมีความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับความสำคัญและความจำเป็นของการจดทะเบียนการค้าด้วย ไม่แน่ว่าวันหนึ่ง เราอาจจะเป็นกธุรกิจมีแบรนด์เป็นของตัวเอง ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพสู่ผู้ใช้บริกร ย่อมเกิดผลดีอย่างแน่นอน อย่าชะล่าใจเพราะสินค้าอาจจะมีการลอกเลียนแบบได้ สิ่งที่ต้องทำเป็นประการแรกก็คือการจดเครื่องหมายการคำนี้แหละเป็นส่วนป้องกันได้ดีและต้องออกแบบให้ดูแปลกไปด้วย ใช้บริบทให้แตกต่าง การจดเครื่องหมายการค้ายังยอดขายและสามารถขยายสินได้เป็นอย่างดี แต่ก็อย่าลืมศึกษาเครื่องหมายการค้าบาง ประเภทที่ทางกฎหมายห้ามใช้ด้วยนะครับ ยกตัวอย่างง่ายๆ ไม่ควรเป็น ตราจักรี ตราแผ่นดิน เป็นต้น เรียนรู้เพิ่มเติมได้ไม่ยากอย่างที่คิดใช่ไหมครับ

     เมื่อรู้อย่างนี้แล้ว สำหรับท่านที่กำลังเริ่มต้นก่อร่างสร้างธุรกิจหรือสินาหรือแบรนด์ของตนเอง ก็อย่าลืมนำผลิตภัณฑ์เข้าไปจดเครื่องหมายการค้า ซึ่งปัจจุบันสามารถทำได้ง่ายขึ้นกว่าเมื่อก่อนมาก และหากไม่มีความรู้ในเรื่องนี้มาก่อน ก็สามารถหาที่ปรึกษาได้ง่ายๆ โดยเบื้องตันสามารถศึกษาได้จากกูเกิล แต่หากตอบโจทย์ ได้ไม่เพียงพอ สามารถใช้บริการทนายได้ ซึ่งสามารถเสิร์ชได้จากกูเกิลเช่นเดียวกันครับ

ตัวอย่างเครื่องหมายการค้าที่ได้รับจดทะเบียนแล้ว

     เครื่องหมายการค้า หมายความว่า เครื่องหมายที่ใช้หรือจะใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับสินคำ เพื่อแสดว่าสินค้าที่ใช้เครื่องหมายของเจ้าของ

     เครื่องหมายการค้านั้นแตก ต่างกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น ตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ.2534 (มาตรา 4)

     เครื่องหมายการค้า จึงหมายถึง ภาพถ่าย ภาพวาด ภาพประดิษฐ์ ตรา ชื่อ คำข้อความ วหนังสือ ตัวเลข ลายมือชื่อ กลุ่มของสี รูปร่างหรือรูปทรงของวัตถุ หรือสิ่งเหล่านี้อย่างหนึ่งอย่างใดหรือหลายอย่างรวมกัน เป็นเครื่องหมายที่ใช้เป็นเครื่องหมายการค้าอยู่ก่อนแล้ว หรือหากไม่ได้ใช้อยู่ก่อนแล้วแต่มีเจตนาที่จะใช้ในอนาคต และเป็นเครื่องหมายที่เกี่ยวข้องกับสินคำ เพื่อแสดงความแตกต่างของสินค้าภายในเครื่องหมายการค้าหนึ่งกับสินค้าภายใต้เครื่องหมายการค้าอื่น

      เครื่องหมายการคำที่จดทะเบียนได้ (มาตรา 6)

    ต้องมีลักษณะตามที่พรราชบัญญัติเครื่อง หมายการค้า พ.ศ.2534 มาตรา 6 บัญญัติไว้ว่า “เครื่องหมายการอันพึ่งรับจดทะเบี้ยนได้ ต้องประกอบด้วยลักษณะ ตั้งต่อไปนี้

(1.) เป็นเครื่องหมายการค้าที่มีลักษณะบ่งเฉพา: ได้แก่ เครื่องหมายการค้าอันมีลักษณะที่ทำให้ประชาชนหรือผู้ใช้สินค้านั้นทราบและเข้าใจได้ว่าสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้านั้นแตกต่างไปจากสินค้าอื่น

(2.) เป็นเครื่องหมายการค้าที่ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามพระราชบัญญัตินี้ ได้แก่ ตราต่างๆ ที่มีรูปหรือคำอยู่ในตรา และเป็นตราที่เกี่ยวข้องกับพระเจ้าแผ่นดิน เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และส่วนราชการต่างๆ ไม่ใช่ตราของรัฐวิสาหกิจและเอกสาร

(3.) เป็นเครื่องหมายการค้าที่เหมือนหรือคล้ายกับเครื่องหมายการค้าที่บุคคลอื่นได้จดทะเบียนไว้แล้วหลักเกณฑ์การพิจารณาความเหมือนเคยของเรื่องหมายการคำ ตามมาตรา 13 บัญญัติว่า “ภายใต้บังคับมาตรา 27 ในกรณีเครื่องหมายการค้าที่ขอจดทะเบียนนั้น นายทะเบียนเห็นว่า

          (1.)เป็นเครื่องหมายการค้าที่เหมือนกับหรือเครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่นที่ใต้จดทะเบียนไว้แล้ว หรือ

          (2.)เป็นเครื่องหมายการค้าที่คล้ายกับเครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่นที่ได้จดทะเยนไว้แล้ว จนอาจทำให้สาธารณะชนสับสนหรือหลงผิดในความเป็นเจ้าของสินค้า หรือแหล่งกำเนิดของสินค้า ถ้าเป็นการขอจดทะเบียนเรื่องหมายการค้าสำหรับสินค้าจำพวกเดียวกันหรือต่างจำพวกกันนายทะเบียนเห็นว่ามีลักษณะอย่างเดียวกัน ห้ามมิให้นายทะเบียนรับจดทะเบียน

     เครื่องหมายการดำที่จดทะเบียนได้ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้

(1.) เครื่องหมายการค้า

(2.) เครื่องหมายบริการ

(3.) เครื่องหมายรับรอง

(4.) เครื่องหมายร่วม

       สิทธิของเจ้าของเครื่องหมายการค้า

    เมื่อได้จดทะเยนเครื่องหมายการคำแล้ว เจ้าของเครื่องหมายการค้าย่อมมีสิทธิตามกฎหมายทุกประการ ไม่ว่าจะเป็นสิทธิแต่เพียงผู้เยาว์ที่จะใช้เครื่องหมายการค้านั้น สิทธิในการอนุญาตให้บุคคลอื่นใช้เครื่องหมายการค้า สิทธิในการโอนสิทธิในเครื่องหมายการค้า รวมทั้งสิทธิในการฟ้องร้องคดีเพื่อป้องกันการละเมิดและเรียกค่าสินไหมทดแทน (มาตรา 44)

       กฎหมายเริ่มให้ความคุ้มครองเจ้าของเครื่องหมายการค้าเมื่อไร

    เครื่องหมายการค้ากฎหมายจะให้ความคุ้มเริ่มตั้งแต่วันที่ใช้เครื่องหมายการค้านั้น และเมื่อจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าแล้วก็จะทำให้สิทธิในเครื่องหมายการค้านั้นสมบูรณ์ครบถ้วน

      การฟ้องคดี

    เจ้าของเครื่องหมายการคำที่ใด้จดทะเบียนแล้วย่อมมีสิทธิที่จะฟ้องคติเพื่อห้ามมิให้ทำละเมิดในอนาคต หรือ เรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเพื่อการละเมิดสิทธิของตนได้

      มาตรา 46 วรรคแรก บัญญัติว่า “บุคคลใดจะฟ้องคติ เพื่อป้องกันการละมิดสิทธิในเรื่องหมายการค้าที่ไม่ได้จดทะเบี้ยน หรือเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเพื่อการละมิสิทธิตังกล่าวไม่ใด้ บทบัญญัติมาตรานี้ไม่กระทบกระเทือนสิทธิของเจ้าของเครื่องหมายการค้าที่ไม่ได้จดทะเบียน ในอันที่จะฟ้องคดีบุคคลอื่น ซึ่งเอาสินค้าของตน ไปลวงขายว่าเป็นสินค้าของเจ้าของเครื่องหมายการคำนั้น “

     อายุคารจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า

   เครื่องหมายการคำที่ใด้จดทะเบียนแล้วมิอายุการคุ้มครอง 10 ปี นับแต่วันจดทะเบียน เมื่อครบกำหนดสามารถที่จะต่ออายุตได้เป็นคราว ๆ คราวละ 10ปี (มาตรา 53 วรรคหนึ่ง)

    อายุการจดทะเบียนเรื่องหมายการคำสามารถต่อได้อย่างไม่จำกัด และหากเจ้าของเครื่องหมายการได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการในการต่ออายุถูกต้องครบถ้วนแล้ว นายทะเบียนเครื่องหมายการค้าจะปฏิเสธการต่ออายุไม่ได้ (มาตรา 54 วรรคหนึ่ง)

      บทลงโทษของผู้ปลอมเครื่องหมายการค้า

    พ.ร.บ.เครื่องหมายการคำ พ.ศ.2534 มาตรา 108 บัญญัติว่า “บุคคลใดปลอมเครื่องหมายการค้า เครื่องหมายบริการ เครื่องหมายรับรอง หรือเครื่องหมายร่วมของบุคคลใดที่ใด้จดทะเบียนแล้วใน ราชอาณาจักร ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสี่ปีหรือปรับไม่เกินสี่แสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

   ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 273 บัญญัติว่า “ผู้ใดปลอมเครื่องหมายการค้าของผู้อื่นซึ่งจดทะเบียนไว้แล้ว ไม่ว่าจะจดทะเบียนภายในหรือนอกราชอาณาจักร ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

      บทลงโทษของผู้เลียนเครื่องหมายการค้า

    พ.ร.บ.เครื่องหมายการคำ พ.ศ.2534 มาตรา 109 บัญญัติว่า “บุคคลใดเลียนเครื่องหมายการค้า เครื่องหมายบริการ เครื่องหมายรับรอง หรือเครื่องหมายร่วมของบุคคลอื่นที่ใด้จดทะเบียนแล้วใน ราชอาณาจักร เพื่อให้ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็นเครื่องหมายการค้า เครื่องหมายบริการ เครื่องหมายรับรอง หรือเครื่องหมายร่วมของบุคคลอื่นนั้น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

   ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 274 บัญญัติ “ผู้ใดเลียนเรื่องหมายการคำของผู้อื่น ซึ่งได้จดทะเบียนไว้แล้ว ไม่ว่าจะจดทะเบียนภายในหรือนอกราชอาณาจักร เพื่อให้ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็นเครื่องหมายการค้าของผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

     บทลงโทษของผู้นำเข้าหรือจำหน่ายสินคำที่ปลอมหรือเครื่องหมายการค้า

   พ.ร.บ.เครื่องหมายการคำ พ.ศ.2534 มาตรา 110 บัญญัติว่า “บุคคลใดนำเข้ามาในราชอาณาจักร จำหน่าย เสนอจำหน่าย หรือมิไว้เพื่อจำหน่ายซึ่งสินคำที่มิเครื่องหมายการค้า เครื่องหมายรับรอง หรือเครื่องหมายร่วมปลอมตามมาตรา 108 หรือที่เลียนเครื่องหมายการค้า เครื่องหมายรับรอง หรือเครื่องหมายร่วมของบุคคลอื่นตามมาตรา 109

   (2) ให้บริการหรือเสนอให้บริการที่ใช้เครื่องหมายบริกร เครื่องหมายรับรองหรือเครื่องหมายร่วม ปลอมตามมาตรา 108 หรือที่เยนเครื่องหมายบริการ เครื่องหมายรับรอง เครื่องหมายร่วมของบุคคลอื่นตามมาตรา 109

ต้องระวางโทษดังที่บัญญัติไว้ในมาตรานั้นๆ”

   บทลงโทษของผู้ที่เอาชื่อ รูป รอยประดิษฐ์ หรือข้อความในการประกอบการคำของผู้อื่นมาใช้เพื่อให้ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็นสินคำหรือการค้าของผู้

     ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 272 (1) บัญญัติว่า

   (1) เอาชื่อ รูป รอยประดิษฐ์หรือข้อความใด ” ในการประกอบ การคำของผู้อื่นมาใช้ หรือทำให้ปรากฏที่สินค้า หีบ ห่อ วัตฤที่ใช้ หุ้มห่อ แจ้งความรายการแสตงราคา จดหมายเกี่ยวกับการคำหรือ สิ่งนองทำนองเดียวกัน เพื่อให้ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็นสินค้าหรือ การคำของผู้อื่นนั้น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

  •     หากท่านมีข้อสงสัยติดต่อทนายคมสันต์ สขกุล เพื่อสอบถาม ค่าบริการ เบอร์โทร. 0-2183-0166, 08-5498-2997 หรือ Line Id : khomsonsukkul ได้ตลอดเวลาทำการครับ
  •    สถานที่ติดต่อ : บริษัท ทนายไซเบอร์ กัด 268/88 ถนนเลียบคลองสอง แขวงบางชัน เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร 10510

          เว็บไซด์ : https://www.ทนายไซเบอร์.com

   สอบถามข้อมูล

   เฟสบุ๊คแฟนเพจ